เทรนด์ขมิ้น (Turmeric)

ผู้เรียบเรียง

ปิยะธิดา ปรางค์โคกกรวด

นักเอกสารสนเทศ ฝ่ายบริการ

สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

 

         “ขมิ้นชัน” (Turmeric) สำหรับสายสุขภาพที่สนใจเรื่องสมุนไพรไทย หรือตำรับหมอโบราณ อาจจะเคยทราบว่าขมิ้นชันใช้ปรุงอาหารเพื่อ ไล่หวัด พอกแผล หรือขัดผิวให้สวยด้วยขมิ้นชันสีเหลืองทอง แต่ในปัจจุบันนี้ทุกอย่างสะดวกขึ้นเพราะมีการสกัดด้วยนวัตกรรมที่เล็กและดูดซึมง่าย และที่สำคัญขณะนี้ทั่วโลกกำลังให้ความสนใจกับ Curcumin ในฐานะซูเปอร์ฟู้ดตอบโจทย์สุขภาพที่กำลังมาแรง เนื่องจากมีงานวิจัยมากมายยืนยันถึงสรรพคุณของสารสีเหลืองจากธรรมชาติ โดยขมิ้นอุดมไปด้วย Curcumin ที่มีประโยชน์

        โดย ขมิ้นชัน (Turmeric) 1 ใน 4 สมุนไพร Product Champion ที่ภาครัฐส่งเสริมการผลิต โดยการประยุกต์ใช้ขึ้นอยู่กับความต้องการในตลาดและการนำเสนอที่น่าดึงดูดของผู้ประกอบการ โดยเฉพาะความต้องการเพื่อใช้ประโยชน์ด้านสุขภาพ และการแพทย์ ซึ่งเป็นโอกาสแก่ผู้ที่ผลิตผลิตภัณฑ์สมุนไพรจากขมิ้นชันในรูปแบบออร์แกนิกส์ โดยมีลูกค้ากลุ่มเป้าหมายคือ กลุ่มธุรกิจอาหารเสริม ยา และโรงพยาบาล กลุ่มเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ นอกเหนือจากที่นิยมนำขมิ้นชันมาใช้ในธุรกิจผลิตอาหารและเครื่องสำอาง

        ทั้งนี้ Whole Foods Market รายงานว่า Food Trend Report ฉบับล่าสุดได้คาดการณ์แนวโน้ม 10 Trend อาหารยอดนิยมของสหรัฐอเมริกา ในปี 2022 ซึ่งขมิ้นชัน (Turmeric) เป็น 1 ในนั้น ซึ่งได้จัดทำโดยคณะกรรมการ Trend Council ที่ประกอบไปด้วยผู้ทรงคุณวุฒิและผู้มีประสบการณ์ด้าน Trend ตลาด ตลอดจนการจัดซื้อสินค้าทั้งในประเทศและต่างประเทศ รวมทั้งผู้เชี่ยวชาญด้านการปรุงอาหาร

 

Turmeric

ภาพโดย ปิยะธิดา ปรางค์โคกกรวด
ที่มาข้อมูล https://qmincthailand.com/curcumin-and-research/
https://waa.inter.nstda.or.th/stks/pub/nac/2021/slide/ss44-lec01.pdf

 

 

 

แหล่งข้อมูลอ้างอิง

เส้นทางเศรษฐีออนไลน์. บริษัท มติชน จำกัด (มหาชน). (2565). รู้ไว้เตรียมบุก! เปิดแนวโน้ม 10 เทรนด์ อาหารยอดนิยมของ

สหรัฐอเมริกา ปี 2022. สืบค้น 14 กุมภาพันธ์ 2565. Retrieved from https://www.sentangsedtee.com/today-news/article_198686

ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (2564). Functional Ingredients - โอกาสและความท้าทายสำหรับธุรกิจอาหารและเครื่องดื่ม. สืบค้น 14

กุมภาพันธ์ 2565. Retrieved from https://waa.inter.nstda.or.th/stks/pub/nac/2021/slide/ss44-lec01.pdf

Qmincthailand. (2021). คิวนี้มาแรง! งานวิจัยบอก – QminC. สืบค้น 14 กุมภาพันธ์ 2565. Retrieved from

https://qmincthailand.com/curcumin-and-research/

trueID, Unlimited Lifestyle. (2565). 7 อาหารบำรุงสมอง กินแล้วความจำดี ไม่ขี้ลืม ลดเสี่ยงโรคอัลไซเมอร์. สืบค้น 14 กุมภาพันธ์

  1. Retrieved from https://women.trueid.net/detail/15rP6bdz6rxR

Whole Foods Market. (2021). Whole Foods Market Reveals Top 10 Food Trends for 2022. สืบค้น 14 กุมภาพันธ์ 2565.

Retrieved from https://media.wholefoodsmarket.com/whole-foods-market-reveals-top-10-food-trends-for-2022

 

 

แหล่งข้อมูลที่เกี่ยวข้อง

Jun, S. H. I., Huiping, D., & Min, Z. (2017). Curcumin pretreatment protects against PM2.5‑induced oxidized

low‑density lipoprotein‑mediated oxidative stress and inflammation in human microvascular endothelial cells. Molecular Medicine Reports, 16(3), 2588-2594. doi:10.3892/mmr.2017.6935.  Retrieved from https://portal.lib.ku.ac.th/login?url=https://search.ebscohost.com/login.aspx?direct=true&db=asn&AN=125352764&site=eds-live

Mohammad Hosein, F., Z. Mahdi, P. Fatemeh, F. E.-S. Fardous, M. Ilias, C.-B. Ericsson, N. Rozita, N. Seyed

Mohammad, R. Roja and A. Mohammad (2018). "Curcumin in Liver Diseases: A Systematic Review of the Cellular Mechanisms of Oxidative Stress and Clinical Perspective." Nutrients 10(7): 855-855. Retrieved from https://portal.lib.ku.ac.th/login?url=https://search.ebscohost.com/login.aspx?direct=true&db=edsdoj&AN=edsdoj.8f74a423568d457089831d28a472e237&site=eds-live

Dimas, P., K. Lisa, B. Janina, R. Heni, S. Joerg and S. Eike (2019). "Anti-infective Properties of the Golden Spice

Curcumin." Frontiers in Microbiology 10. Retrieved from https://portal.lib.ku.ac.th/login?url=https://search.ebscohost.com/login.aspx?direct=true&db=edsdoj&AN=edsdoj.756fb163b14e4f89bbb1a5da666fe24d&site=eds-live

Li, Y., L. Tian, D. Sun and D. Yin (2019). "Curcumin ameliorates atherosclerosis through upregulation of miR‐126."

Journal of Cellular Physiology 234(11): 21049-21059. Retrieved from

https://portal.lib.ku.ac.th/login?url=https://search.ebscohost.com/login.aspx?direct=true&db=edb&AN=137679332&site=eds-live

Mata, I. R. d., S. R. d. Mata, R. C. R. Menezes, L. S. Faccioli, K. K. Bandeira and S. M. D. Bosco (2021). "Benefits of

turmeric supplementation for skin health in chronic diseases: a systematic review." Critical Reviews in Food Science & Nutrition 61(20): 3421-3435. Retrieved from https://portal.lib.ku.ac.th/login?url=https://search.ebscohost.com/login.aspx?direct=true&db=fsr&AN=153606076&site=eds-live

| 22/02/2565 | 243 | share : , ,
แบบประเมิน