บริการ AI เพื่อการศึกษา วิจัย

เงื่อนไขการใช้บริการ
1. สงวนสิทธิ์เฉพาะนิสิต อาจารย์ และบุคลากร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เท่านั้น
2. ไม่มีค่าธรรมเนียมในการขอใช้บริการ
3. ให้บริการตามวันและเวลาทำการของสำนักหอสมุด
4. ติดต่อขอใช้บริการด้วยตนเองที่เคาน์เตอร์บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า ชั้น 1 อาคารช่วงเกษตรศิลปการ โดยในปี 2568 นี้ สำนักหอสมุดบอกรับ (Subscribe)  AI จำนวน 4 รายการ  ดังนี้

1. ChatGPT Plus ผู้ช่วยอัจฉริยะด้านการคิด วิเคราะห์ และสร้างสรรค์เนื้อหา ไม่ว่าจะเป็นการสรุปข้อมูล ตอบคำถาม หรือร่างเอกสารสำคัญ
ตัวอย่างการใช้งาน1
ตัวอย่างการใช้งาน2

2. Claude AI Pro – AI ที่เข้าใจภาษาและบริบทเชิงลึก เหมาะสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลที่ซับซ้อน ช่วยขยายแนวคิดและปรับปรุงงานเขียนเชิงวิชาการ
ตัวอย่างการใช้งาน1
ตัวอย่างการใช้งาน2
  
3. Gemini Advanced – พัฒนาขึ้นเพื่อการคิดเชิงตรรกะและการประมวลผลข้อมูล ช่วยสืบค้นข้อมูลทางวิชาการและสร้างสรรค์ไอเดียใหม่ ๆ
ตัวอย่างการใช้งาน1
ตัวอย่างการใช้งาน2

4. Grammarly Pro – ผู้ช่วยด้านการเขียนภาษาอังกฤษระดับมืออาชีพ ตรวจสอบไวยากรณ์ โครงสร้างประโยค และปรับปรุงการสื่อสารให้คมชัดยิ่งขึ้น
ตัวอย่างการใช้งาน1
ตัวอย่างการใช้งาน2

นอกจาก AI ที่ห้องสมุดบอกรับแล้ว ยังมี AI อื่นๆ ที่สามารถใช้บริการเวอร์ชั่นฟรีได้ เช่น
AnswerThis             [ ตัวอย่างการใช้งาน ]
--Canva AI                 [ ตัวอย่างการใช้งาน ]
Consensus              [ ตัวอย่างการใช้งาน ]
Julius AI                  [ ตัวอย่างการใช้งาน ]
Litmaps                   [ ตัวอย่างการใช้งาน ]
Perplexity                [ ตัวอย่างการใช้งาน ]
ProWritingAid         [ ตัวอย่างการใช้งาน ]
--QuillBot                   [ ตัวอย่างการใช้งาน ]
Research Rabbit     [ ตัวอย่างการใช้งาน ]
Semantic Scholar  [ ตัวอย่างการใช้งาน1 / ตัวอย่างการใช้งาน2 ]
SciSpace                 [ ตัวอย่างการใช้งาน1 / ตัวอย่างการใช้งาน2 ]

จริยธรรม / ข้อควรระวัง ในการใช้ AI
AI Ethics Guideline / โดย กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
AI Ethics จริยธรรมปัญญาประดิษฐ์สำคัญอย่างไร
การใช้ Generative AI ในการทำวิจัย : แนวทางปฏิบัติและข้อควรระวัง 
รายงานฉบับสมบูรณ์  การทบทวนวรรณกรรมว่าด้วยการใช้ AI ในการศึกษา / โดย สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
--
แนวปฏิบัติการใช้ AI ของสถาบันการศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
มหาวิทยาลัยนเรศวร
มหาวิทยาลัยมหิดล
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA)
--

การอ้างอิง
How to cite ChatGPT in APA Style
การอ้างอิง Generative AI / สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยนเรศวร
การอ้างอิง ChatGPT ในผลงานวิชาการ

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่เคาน์เตอร์บริการตอบคำถามฯ ชั้น 1 อาคารช่วงเกษตรศิลปการ หรือที่  0-2940-5830-1 ต่อ 615786 อีเมล lib_services@ku.ac.th
 

สารภี สีสุข | 07/03/2568 | 69 | share : , ,
แบบประเมิน