ADAPTOGEN (สารปรับสมดุล)
ผู้เรียบเรียง
ปิยะธิดา ปรางค์โคกกรวด
นักเอกสารสนเทศ ฝ่ายบริการ
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Adaptogen (อแดปโตเจน) หรือ Adaptogenic herbs (อแดปโตเจนิก เฮิร์บ) คือ สารสกัดจากสมุนไพรธรรมชาติที่มีฤทธิ์ในการควบคุมกระบวนการทางสรีรวิทยาในระบบต่าง ๆ ของร่างกาย ช่วยให้เกิดความสมดุล ลดการเกิดสภาวะตึงเครียดของร่างกาย และไม่เป็นพิษ ในความเป็นจริง Adaptogen มีใช้กันมาแล้วในเวลานาน ทั้งในตำราอายุรเวทของอินเดียและการแพทย์ของจีน มีการเผยแพร่และใช้เรียกครั้งแรกในปี 1947 เพื่ออธิบายถึงสารที่มีฤทธิ์ต่อต้านความเครียด รวมไปถึงกระบวนการทางชีวภาพที่ช่วยต่อต้าน บำบัดอาการเครียด โดยในปี 2008 เริ่มมีการศึกษาและมีงานวิจัยที่มีการตีพิมพ์เผยแพร่ออกมามากมาย
Adaptogen มีทั้งแบบสารสกัดเม็ด และผง เช่น เห็ดหลินจือ ขมิ้นกะหล่ำปลี โสมอินเดีย และอีกหลายชนิดอย่างโสมและโรดิโอลาที่จะช่วยให้เรามีพลังและสดชื่น ข้อมูลจากโครงการเผยแพร่ความรู้ด้าน ยา เวชภัณฑ์ และการดูแลสุขภาพผ่านเพจ Facebook “ชมรมศิษย์เก่าเภสัชมหิดลเพื่อประชาชน” ภายใต้ชื่อ MUPY Alumni Talk นำเสนอในหัวข้อ “สมุนไพรไทยใช้อย่างไรในยุค COVID-19” โดยเน้นการใช้สมุนไพร กลุ่ม Adaptogen ช่วยดูแลสุขภาพแบบครบวงจร หาง่าย ราคาถูก ใช้กันมานานแต่โบราณ เพื่อใช้ดูแลสุขภาพด้วยตนเอง ซึ่งในภาวะวิกฤตของโรคระบาดโควิด-19 หากมองฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา ควบคู่กับหลักการแพทย์แผนไทย พบว่า สมุนไพรเหล่านี้มีคุณสมบัติที่หลากหลาย เช่น ต้านจุลินทรีย์, ลดการอักเสบ, เสริมภูมิคุ้มกัน ซึ่งสามารถเรียกรวมกันว่าเป็น สมุนไพรกลุ่ม “Adaptogen” สามารถนำมาประยุกต์ใช้เพื่อดูแลสุขภาพในภาวะวิกฤตโควิด-19 ได้ สำหรับประชาชนทั่วไป ผู้ติดเชื้อ และผู้ที่หายจากโรคได้
แหล่งข้อมูลอ้างอิง
เจ้าของร้าน. อแดปโตเจน (Adaptogen) คืออะไร?. สืบค้น 2 พฤษภาคม 2565. Retrieved From https://bit.ly/36QxTzT
สุขภาพ ความงาม, มติชน. สมุนไพรไทย หาง่าย ปลอดภัย ราคาถูก ใช้อย่างไรในยุคโควิด-19. สืบค้น 2 พฤษภาคม 2565. Retrieved From https://www.matichon.co.th/lifestyle/health-beauty/news_2928728
GeTece TRENDS Flavours, ‘Adaptogen’ สมุนไพรต้านความเครียด. สืบค้น 2 พฤษภาคม 2565. Retrieved From https://getece.com/th/adaptogen%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%B8%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2/
Plook Magazine, Plook Friends. เคล็ดลับการกินให้เครียดน้อยลงแบบไม่ทรมานตัวเอง สืบค้น 2 พฤษภาคม 2565.Retrieved From http://www.plookfriends.com/blog/content/detail/90648/
Thrivewellnessth. Healthy Trend 2022. สืบค้น 2 พฤษภาคม 2565. Retrieved Fromhttps://www.thrivewellnessth.com/post/healthy-trend-2022
แหล่งข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
Allen, K., & Bennett, J. W. (2021). Tour of Truffles: Aromas, Aphrodisiacs, Adaptogens, and More. Mycobiology, 49(3), 201–212. Retrieved From https://portal.lib.ku.ac.th/login?url=https://search.ebscohost.com/login.aspx?direct=true&db=edb&AN=151233663&site=eds-live
Karosanidze, Irina, Ushangi Kiladze, Nino Kirtadze, Mikhail Giorgadze, Nana Amashukeli, Nino Parulava, Neli Iluridze, et al. “Efficacy of Adaptogens in Patients with Long COVID-19: A Randomized, Quadruple-Blind, Placebo-Controlled Trial.” Pharmaceuticals (14248247) 15, no. 3 (March 2022): 345. Retrieved From https://portal.lib.ku.ac.th/login?url=https://search.ebscohost.com/login.aspxdirect=true&db=asn&AN=156072728&site=eds-live
Lian-ying Liao, Yi-fan He, Li Li, Hong Meng, Yin-mao Dong, Fan Yi, & Pei-gen Xiao. (2018). A preliminary
review of studies on adaptogens: comparison of their bioactivity in TCM with that of ginseng-like herbs used worldwide. Chinese Medicine, 13(1), 1–12. Retrieved From https://portal.lib.ku.ac.th/login?url=https://search.ebscohost.com/login.aspx?direct=true&db=edsdoj&AN=edsdoj.17b597f105e04188b356dedf5240bdb4&site=eds-live
Ramakrishnan, A. G., & Sharma, K. (2021). Factors behind higher COVID-19 recovery and lower fatality rates
in India - need for a focused study. 2021 IEEE 9th Region 10 Humanitarian Technology Conference (R10-HTC), Humanitarian Technology Conference (R10-HTC), 2021 IEEE 9th Region 10, 1–6. Retrieved From https://portal.lib.ku.ac.th/login?url=https://search.ebscohost.com/login.aspx?direct=true&db=edseee&AN=edseee.9641736&site=eds-live
Ratan, Z. A., Youn, S. H., Kwak, Y.-S., Han, C.-K., Haidere, M. F., Kim, J. K., Min, H., Jung, Y.-J., Hosseinzadeh,
H., Hyun, S. H., & Cho, J. Y. (2021). Adaptogenic effects of Panax ginseng on modulation of immune functions. Journal of Ginseng Research, 45(1), 32–40. Retrieved From https://portal.lib.ku.ac.th/login?url=https://search.ebscohost.com/login.aspx?direct=true&db=edselp&AN=S1226845320301391&site=eds-live