การเรียนรู้แบบ
Micro - Learning


ขวัญชนก พุทธจันทร์*

บรรณารักษ์ชำนาญการ

สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

MicroLearning3

 

         

          ปัจจุบันสังคมดิจิทัลเข้ามามีบทบาทในการเรียนรู้ องค์ความรู้แบบดั้งเดิมอาจไม่เพียงพอในระบบการศึกษา การศึกษาตามหลักสูตรแบบเดิมก็ใช้เวลามากตอบสนองไม่ทันต่อความเปลี่ยนแปลง วิถีของการเรียนรู้จึงมีการปรับตัว เกิดการเรียนรู้แนวทางใหม่ เกิดความตื่นตัวในการเรียนรู้ นำไปสู่การเรียนรู้ที่เรียกว่า Micro-Learning

          กล่าวได้ว่า Micro-Learning  เป็นการเรียนรู้แบบระยะเวลาสั้นๆ กระชับ ฉับไว ได้ใจความ โดยเน้นพัฒนาความรู้และทักษะในเรื่องหนึ่งๆ  ผู้เรียนสามารถนำความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตหรือในการทำงานจริงได้ทันเวลา สามารถบริหารจัดการเวลาและวิธีในการเรียนรู้ด้วยตนเองได้อย่างอิสระ  แต่มีข้อจำกัดคือ การเรียนแบบ Micro-Learning  อาจไม่สามารถเชื่อมโยงองค์ความรู้ในภาพรวมได้

          การเรียนรู้แบบ Micro-Learning   มักเป็นลักษณะการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยผ่านอุปกรณ์ Smart Phone, Notebook และ Wifi ลักษณะการเรียนรู้แบบ Micro - Learning  ยกตัวอย่างเช่น การเรียนรู้จากคลิปวีดิโอ การเรียนรู้ด้วย Flash card  การเรียนรู้ผ่านทางสื่อ Social Media  การเรียนรู้ผ่านทาง Google Scholar การศึกษาจาก

YouTube เป็นต้น

 

องค์ประกอบสำคัญของ “Micro Learning”

  1. เนื้อหาต้องสั้นกระชับ ได้ใจความ ตรงประเด็น ส่วนมากเวลามักอยู่ที่ประมาณ 1-3 นาที
  2. การใช้ภาษาถ่ายทอดเข้าใจง่าย ไม่ก่อให้เกิดความสับสน ไม่เน้นวิชาการหรือเชิงทฤษฎีมากเกินไป
  3. การอธิบายให้แนวทางในการนำไปปฏิบัติที่ชัดเจน มีขั้นตอนที่สามารถนำไปปฏิบัติได้โดยไม่ต้องตีความมากนัก
  4. บทเรียนแฝงด้วยอารมณ์ขัน ชวนให้น่าสนใจ น่าติดตาม เข้าดูได้ง่ายไม่ต้อง log in ไม่ต้องมี pass word
  5. รองรับการดูบน Mobile Learning Platform สามารถใช้งานได้บนโทรศัพท์มือถือ Tablet

 

ทั้งนี้สามารถศึกษาเพิ่มเติมจากบทความออนไลน์ที่เกี่ยวข้องกับ Micro Learning ได้ดังนี้

  1. The Applications of Microlearning in Higher Education in Textiles.
    BUHU, A., & BUHU, L. (2019). The Applications of Microlearning in Higher Education in Textiles. 
            ELearning & Software for Education, 3, 373–376. https://doi.org/10.12753/2066-026X-19-189

  1. Using Drupal to Build a MOOC for the Implementation of Microlearning and Self Directed Learning.
    Using Drupal to Build a MOOC for the Implementation of Microlearning and Self Directed Learning.
            (English). (2019). Open Education: The Journal for Open & Distance Education & Educational
            Technology, 15(1), 226–240.

  2. Supersized Tips for Implementing Microlearning in Macro Ways.
    Winger, A. (2018). Supersized Tips for Implementing Microlearning in Macro Ways. Distance
            Learning, 15(4), 51–55.

  1. Developing a Microlearning Strategy with or without an Lms
    ELDRIDGE, B. (2017). Developing a Microlearning Strategy with or without an Lms. ELearning &
            Software for Education, 1, 48–51. https://doi.org/10.12753/2066-026X-17-007

  1. Microlearning an Evolving Elearning Trend
    Giurgiu, L. (2017). Microlearning an Evolving Elearning Trend. Buletin Stiintific, 22(1), 18–23.
            https://doi.org/10.1515/bsaft-2017-0003

  1. Microlearning: A New Learning Model
    Dolasinski, M. J., & Reynolds, J. (n.d.). Microlearning: A New Learning Model. Journal of Hospitality
            and Tourism Research, 44(3), 551–561. https://doi.org/10.1177/1096348020901579

  1. Designing Microlearning Instruction for Professional Development through a Competency Based Approach
    Zhang, J., & West, R. E. (2020). Designing Microlearning Instruction for Professional Development
            through a Competency Based Approach. TechTrends: Linking Research and Practice to Improve
            Learning, 64(2), 310–318.

  1. The science behind microlearning effectiveness
    Dillon, J. (2019). The science behind microlearning effectiveness. Training and Development, 46(4),
            14–16.

  2. Microlearning: A New Learning Model
    Dolasinski, M. J., & Reynolds, J. (2020). Microlearning: A New Learning Model. Journal of Hospitality &
            Tourism Research, 44(3), 551.

  1. Microlearning for patient safety: Crew resource management training in 15-minutes
    Gross, B., Rusin, L., Kiesewetter, J., Zottmann, J. M., Fischer, M. R., Prückner, S., & Zech, A. (2019).
            Microlearning for patient safety: Crew resource management training in 15-minutes. PLoS ONE,
            14(3), 1–20. https://doi.org/10.1371/journal.pone.0213178

บรรณานุกรม

ภู่วิทยพันธ์. ศิลปะการเรียนรู้ด้วยตนเองแบบ Micro Learning. วารสาร HR Society magazine,
          18(205) มกราคม 2563.

อภิวุฒิ พิมลแสงสุริยา. ถามมา-ตอบไป สไตล์คอนซัลต์ : การเรียนรู้เมื่อต้องใช้. Retrieved from
          https://www.prachachat.net/csr-hr/news-216138

Anna Dillon. MICROLEARNING DESIGN MODEL - 8 STEPS TO SUCCESS. Retrieved from
          https://blog.logicearth.com/microlearning-design-model

BLS - Bridge Learning Solutions. Technologies & HR. Retrieved from
          https://www.bridgelearningsolutions.com/16881072/micro-learning-การเรียนรู้แบบทีละเล็กทีละน้อย

Deepa Katambur. Microlearning Design: 7 Must-Have Characteristics. Retrieved from
          https://blog.commlabindia.com/elearning-design/microlearning-design-characteristics

Joeaphiboon. การเรียนรู้แบบ Micro Learning เทรนด์ที่กำลังจะมา Disrupt วงการศึกษา? Retrieved from
          https://quantzynotes.wordpress.com/2019/11/28/การเรียนรู้แบบ-micro-learning-กำลังจ/

Karla Gutierrez. Corporate Training : When Designing Microlearning, Keep Macro in Mind.
          Retrieved from https://www.shiftelearning.com/blog/micro-learning-macro-learning

 

 


 
 
 
1xbet casino siteleri bedava bahis kaçak bahis superbetin yeni giriş casino siteleri